1. กระจกกันรังสีเอกซเรย์กันได้จริงไหม หรือใส่กระจกธรรมดาก็ได้

  • สำหรับในห้องอีก X-RAY ราไม่สามารถใช้กระจกธรรมดาติดตั้งได้ เนื่องจากจะทำให้รังสีเอกซเรย์รั่วไหลและเป็นอันตรายต่อผู้อื่น อีกทั้งยังตรวจปริมาณรังสีภายนอกห้องจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ไม่ผ่านอีกด้วย
  • ด้วยนวัตกรรมการผลิตกระจก จากเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง ได้มาตรฐานยูโรเปี้ยน สแตนดาร์ด ผสมผสานกับวัสดุ

ในการป้องกันรังสี X-RAY ได้ในขั้นตอนการผลิต ทำให้กระจกป้องกันรังสีเอกซเรย์ (Lead Glass) เป็นกระจกที่มีลักษณะ พิเศษ สามารถป้องกันรังสี X-RAY ได้

กระจกป้องกันรังสี X-RAY (Lead Glass) ได้ถูกออกแบบมาให้มีลักษณะ โปร่งใส สีขาวอมเหลืองช่วยป้องกันและลดทอนรังสี X-RAY ได้ดี มาตรฐานทั่วไป ความสามารถในการป้องกันรังสี X-RAY จะเทียบ กับแผ่นตะกั่ว มาตรฐานจะอยู่ที่ 2.0mmPb. และ 2.50mmPb. หรือกระจกป้องกันรังสีเอกซเรย์ ที่หนาเทียบเท่าตะกั่ว 2 มม. และ 2.5 มม.

  • ข้อควรระวังในการติดตั้งกระจกกันรังสีเอกซเรย์กรอบกระจก

ลักษณะของกรอบกระจกกันรังสีเอกซเรย์ผลิตโดยผู้เชี่ยวชาญและภายในยังต้องใส่แผ่นตะกั่วอีกด้วย

อีกทั้งกระจกกันรังสีเอกซเรย์ที่ได้มาตรฐานอย่างต้องผ่านผลทดสอบ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กระทรวงสาธารณสุขอีกด้วยว่าสามารถป้องกันรังสีเอกซเรย์ที่มีอยู่ได้จริง

  • การเลือกใช้กระจกกันรังสีเอกซเรย์ในห้อง ต่างๆ